เบาหวาน คือ ลักษณะที่ตับอ่อนไม่สามารถผลิตอินชูลินหรืออินชูลินไม่มีคุณภาพ
เลือด
1.พลาสมา
2.เกล็ดเลือด
3.เม็ดเลือดแดง
4.เม็ดเลือดขาว
แหล่งพลังงาน 5 แหล่ง
1.กลูโคลสในกระแสเลือด
2.ไตรกลีเชอร์ในกระแสเลือด
3.ไกรโคเจนในกล้ามเนื้อและตับ
4.ไขมันในชั้นผิวหนัง
5.คลอเรสเตอรอลในกระแสเลือด
หน้าที่ของตับ
1.ผลิตน้ำดี
2.สร้างสารอาหาร
3.กำจัดสารบินลูบิน (เลือดที่ตาย)
4.สารที่ช่วยให้เกิดการแข็งตัวของเลือด
5.ดักจับเชื้อโรค
6.กรองแอลกอฮอล์
ผู้ป่วยเบาหวานมี 5 ลักษณะ
1.ต่อต้าน ผู้ป่วยจะแสดงอาการก้าวร้าวเพื่อกลบเกลื่อนความกลัว
2.หลบหนี ไม่ยอมให้ใครรู้ว่าเป็น ต้องการกำลังใจและความเข้าใจ
3.ปกปิด รู้ตัวแต่ฝืนและปกปิดไม่ให้ใครรู้ ไม่เปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
4.ยอมรับ จะดูแลตัวเองดี และเปลี่ยนพฤติกรรมง่ายขึ้น
แหล่งรวมข้อมูล...การดูแล รักษาสุขภาพ สาระ ประโยชน์มากมาย รวมถึง วิธีการปฏิบัติ วิธีการป้องกันโรคต่าง ๆ
22.2.09
20.2.09
มะเร็งเต้านมเกิดจากอะไร
มะเร็งเต้านมเกิดจากอะไร
มะเร็งเต้านมเกิดจากการเจริญเติบโตที่ผิดปกติของเซลล์เนื้อเยื่อเต้านม และร่างกายไม่สามารถจะควบคุมการเจริญเติบโตที่ผิดปกตินั้นได้ ทำให้เซลล์ที่ผิดปกติเหล่านั้นโตออกไปเรื่อยๆอย่างรวดเร็วและกระจายออกไปยังอวัยวะอื่นๆในที่สุด
ผู้หญิงคนใดมีโอกาสเป็นมะเร็งเต้านม
ผู้หญิงทุกคนมีโอกาสเป็นมะเร็งเต้านมด้วยกันทั้งสิ้นแต่ผู้หญิงที่มีปัจจัยเสี่ยงต่อไปนี้จะมีโอกาสเสี่ยงสูงกว่าผู้หญิงทั่วไป
1.ผู้หญิงที่มีอายุมาก จากข้อมูลของคนไทยพบว่าผู้หญิงไทยที่เป็นมะเร็งเต้านมมีอายุเฉลี่ย 49.2 ปี
2.ผู้หญิงที่มีประวัติในครอบครัวเป็นมะเร๊งเต้านม โดยเฉพาะอย่างยิ่งเป็นญาติในกลุ่มที่ติดกัน เช่น แม่ พี่สาว หรือน้องสาวโดยตรง
3.ผู้หญิงที่ไม่มีบุตร หรือมีบุตรคนแรกเมื่ออายุมากกว่า 30 ปี
4.ผู้หญิงที่มีรอบเดือนมาเร็ว และหมดช้า หรือใช้ฮอร์โมนทดแทนเป็นเวลานาน
อาการของมะเร็งเต้านม
1.มีก้อนที่เต้านม
2.มีเลือดออกทางหัวนม
3.มีแผลเรื้อรังที่หัวนม
4.ผิวหนังบวมหนาคล้ายเปลือกส้ม
5.มีก้อนที่รักแร้เนื่องจากต่อมนำเหลืองโต
6.หัวนมถูกดึงรั้ง
7.มีการเปลี่ยนแปลงขนาดและรูปร่างของเต้านม
การตรวจหามะเร็งเต้านม
เพื่อป้องกันและตรวจหามะเร็งตั้งแต่ระยะแรกในผู้หญิงไทยแนะนำให้ทำการตรวจเต้านมด้วยตนเองเดือนละ 1 ครั้งในวันที่ 7-10หลังมีประจำเดือน ถ้าไม่แน่ใจในการตรวจหรือสงสัยว่าจะมีความผิดปกติใดๆ ควรรีบมาพบแพทย์ทันทีการตรวจด้วย Mammogram with ultrasound ควรเริ่มทำเมื่ออายุ 40 ปีขึ้นไป โดยทำการตรวจทุกปี
มะเร็งเต้านมเกิดจากการเจริญเติบโตที่ผิดปกติของเซลล์เนื้อเยื่อเต้านม และร่างกายไม่สามารถจะควบคุมการเจริญเติบโตที่ผิดปกตินั้นได้ ทำให้เซลล์ที่ผิดปกติเหล่านั้นโตออกไปเรื่อยๆอย่างรวดเร็วและกระจายออกไปยังอวัยวะอื่นๆในที่สุด
ผู้หญิงคนใดมีโอกาสเป็นมะเร็งเต้านม
ผู้หญิงทุกคนมีโอกาสเป็นมะเร็งเต้านมด้วยกันทั้งสิ้นแต่ผู้หญิงที่มีปัจจัยเสี่ยงต่อไปนี้จะมีโอกาสเสี่ยงสูงกว่าผู้หญิงทั่วไป
1.ผู้หญิงที่มีอายุมาก จากข้อมูลของคนไทยพบว่าผู้หญิงไทยที่เป็นมะเร็งเต้านมมีอายุเฉลี่ย 49.2 ปี
2.ผู้หญิงที่มีประวัติในครอบครัวเป็นมะเร๊งเต้านม โดยเฉพาะอย่างยิ่งเป็นญาติในกลุ่มที่ติดกัน เช่น แม่ พี่สาว หรือน้องสาวโดยตรง
3.ผู้หญิงที่ไม่มีบุตร หรือมีบุตรคนแรกเมื่ออายุมากกว่า 30 ปี
4.ผู้หญิงที่มีรอบเดือนมาเร็ว และหมดช้า หรือใช้ฮอร์โมนทดแทนเป็นเวลานาน
อาการของมะเร็งเต้านม
1.มีก้อนที่เต้านม
2.มีเลือดออกทางหัวนม
3.มีแผลเรื้อรังที่หัวนม
4.ผิวหนังบวมหนาคล้ายเปลือกส้ม
5.มีก้อนที่รักแร้เนื่องจากต่อมนำเหลืองโต
6.หัวนมถูกดึงรั้ง
7.มีการเปลี่ยนแปลงขนาดและรูปร่างของเต้านม
การตรวจหามะเร็งเต้านม
เพื่อป้องกันและตรวจหามะเร็งตั้งแต่ระยะแรกในผู้หญิงไทยแนะนำให้ทำการตรวจเต้านมด้วยตนเองเดือนละ 1 ครั้งในวันที่ 7-10หลังมีประจำเดือน ถ้าไม่แน่ใจในการตรวจหรือสงสัยว่าจะมีความผิดปกติใดๆ ควรรีบมาพบแพทย์ทันทีการตรวจด้วย Mammogram with ultrasound ควรเริ่มทำเมื่ออายุ 40 ปีขึ้นไป โดยทำการตรวจทุกปี
18.2.09
กล้ามเนื้อทับเส้นประสาท
กล้ามเนื้อทับเส้นประสาท
ถาม
ขอสอบถามพี่ๆที่พอจะมีข้อมูลของอาการกล้ามเนื้อทับเส้นประสาทจะมีอาการยังไงบ้างครับ แล้วขั้นตอน+วิธีการรักษาจะต้องทำยังไงบ้างครับ ค่าใช้จ่ายสูงมากหรือเปล่าครับ
ตอบ
มันก็มีอยู่บ้างนะ ที่เกิดอาการกล้ามเนื้อทับเส้นประสาท แต่ความจริงกล้ามเนื้อกับเส้นประสาทมันก็อยู่ร่วมกันมานานแล้ว ไม่ได้เกิดอาการทับกันเองโดยไม่มีสาเหตุ ส่วนใหญ่เป็นปัญหาที่เกิดภายหลัง การมีปัญหา ที่ตัวเส้นประสาทเอง ในระดับที่เหนือขึ้นไป จากจุดที่มีปัญหา กล้ามเนื้อทับเส้นประสาท จริง ๆ อาจเป็นผลจากการที่ร่างกายมีกลไกที่จะป้องกันการบาดเจ็บซึ่งอาจเกิดต่อเนื่องต่อเส้นประสาท เช่น เพื่อลดและป้องกันไม่ให้เส้นประสาทที่มีปัญหาถูกยืดมาก ๆ ที่มักพบได้บ่อย คือคนไข้มีปัญหาหมอนรองกระดูกเคลื่อนไปกดทับเส้นประสาทข้าง ๆ เช่น ในระดับ เอวข้อที่ 4-5 ผู้มีปัญหานี้จริง ส่วนใหญ่มักมีอาการปวดที่กล้ามเนื้อก้นด้านที่มีการกดทับของเส้นประสาทหลัง อาจปวดที่ก้นและร้าวลงขา หรือปวดเฉพาะที่ก้นเท่านั้นก็ได้ โดยเส้นประสาทที่ลอดใต้กล้ามเนื้อก้นมัดนั้นทอดยาวมาจากเส้นประสาทเดียวกันกับระดับที่เกิดปัญหาที่เอว แต่บางรายก็ไม่มีอาการดังกล่าว ความจริงแล้วตัวกล้ามเนื้อเกร็งขึ้นเพื่อยึดไม่ให้เส้นประสาทถูกยืดมาก ถ้ารักษาที่ระดับเอว หรือที่สาเหตุแรกได้ถูกจุด
อาการปวดตรงกล้ามเนื้อและเส้นประสาทที่ก้นก็จะลดลงไปได้ การเกิดอาการลักษณะนี้ก็สามารถพบได้ที่กล้ามเนื้อ บ่า หรือ สะบัก เช่นกัน ถ้าเส้นประสาทในระดับคอด้านเดียวกันถูกกดทับโดยหมอนรองกระดูกสันหลัง หรือตัวกระดูกสันหลังเอง หรือแม้แต่การมีภาวะกระดูกเสื่อม มีภาวะแคลเซี่ยมหรือกระดูกงอกหนาตัวขึ้นพอดี หรืออาจมีเศษกระดูกที่กร่อนตัวออกมากมากดทับเส้นประสาทระดับใกล้เคียงนั้นก็ได้ กล้ามเนื้อที่ปกคลุมแนวเส้นประสาทที่มีปัญหานั้น ก็สามารถเกร็งตัว ขึ้นได้ อาการปวดกล้ามเนื้อก็จะต่างไปจากอาการปวดเมื่อยหลังการทำงานทั่วไป อาการปวดล้า/ร้าว ไปตามแขน
ส่วนอก สีข้าง ร่วมกับอาการชา ก็อาจมีได้ บางรายสามารถบรรเทาความเจ็บปวดด้วยวิธีทางกายภาพบำบัด แต่บางกรณีก็ต้องผ่าตัดเอาสาเหตุออก เช่น ชิ้นส่วนกระดูกที่งอก หรือ หมอนรองกระดูกที่เคลื่อนตัวออกมาทับ หรือเพิ่มความหนาให้หมอนรองกระดูกในกรณีที่กระดูกคอเสื่อมและทรุดตัวลงมากดทับเส้นประสาทคอระดับต่าง ๆ ค่าใช้จ่ายในการรักษาก็ขึ้นกับวิธีการตรวจ และ แนวทางการรักษา ถ้ารักษาแบบไม่ใช้ยา ไม่ผ่าตัด เช่น วิธีทางกายภาพบำบัด ก็ราคาไม่แพง หลักร้อย ถึง พัน ต้น ๆ และไม่ต้องเสี่ยงจากการได้รับผลข้างเคียงของการใช้ยา แต่ถ้าสาเหตุที่เกิดต้องแก้ไขด้วยวิธีผ่าตัดเท่านั้น ค่าใช้จ่ายก็จะสูงขึ้น แพงมากน้อยก็ขึ้นกับวิธีการและเทคโนโลยี รวมทั้งอุปกรณ์ที่ใช้ในการผ่าตัดด้วย มักเริ่มที่หลักหมื่น ถึงหลักแสนได้ การประมาณค่ารักษาขึ้นกับสภาพอาการและสาเหตุของปัญหาเป็นสำคัญ ส่วนใหญ่ผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดแล้ว หรือ ก่อนเข้ารับการผ่าตัดมักได้รับคำแนะนำ คำอธิบายเกี่ยวกับแนวทางการรักษา การพยากรณ์โรค จากแพทย์ และการเตรียมความพร้อมให้กับกล้ามเนื้อ ร่วมกับแนวทางการปฎิบัติตัวที่ถูกต้องจากนักกายภาพบำบัด หรือนักเวชศาสตร์ฟื้นฟู
แต่ตัวกล้ามเนื้อเองก็อาจบวม อักเสบและกดทับเส้นประสาทได้ โดยไม่ต้องมีกลไก ของปัญหาในลักษณะข้างต้น โดยอาจมีสาเหตุมาจากการมีแผลเปิด มีอาการกล้ามเนื้ออักเสบ เกิดการติดเชื้อโดยตรงที่กล้ามเนื้อที่ปกคลุมเส้นประสาทอยู่ เป็นผลทำให้เกิดอาการคล้ายคลึงกับกรณีแรกได้
ถาม
ขอสอบถามพี่ๆที่พอจะมีข้อมูลของอาการกล้ามเนื้อทับเส้นประสาทจะมีอาการยังไงบ้างครับ แล้วขั้นตอน+วิธีการรักษาจะต้องทำยังไงบ้างครับ ค่าใช้จ่ายสูงมากหรือเปล่าครับ
ตอบ
มันก็มีอยู่บ้างนะ ที่เกิดอาการกล้ามเนื้อทับเส้นประสาท แต่ความจริงกล้ามเนื้อกับเส้นประสาทมันก็อยู่ร่วมกันมานานแล้ว ไม่ได้เกิดอาการทับกันเองโดยไม่มีสาเหตุ ส่วนใหญ่เป็นปัญหาที่เกิดภายหลัง การมีปัญหา ที่ตัวเส้นประสาทเอง ในระดับที่เหนือขึ้นไป จากจุดที่มีปัญหา กล้ามเนื้อทับเส้นประสาท จริง ๆ อาจเป็นผลจากการที่ร่างกายมีกลไกที่จะป้องกันการบาดเจ็บซึ่งอาจเกิดต่อเนื่องต่อเส้นประสาท เช่น เพื่อลดและป้องกันไม่ให้เส้นประสาทที่มีปัญหาถูกยืดมาก ๆ ที่มักพบได้บ่อย คือคนไข้มีปัญหาหมอนรองกระดูกเคลื่อนไปกดทับเส้นประสาทข้าง ๆ เช่น ในระดับ เอวข้อที่ 4-5 ผู้มีปัญหานี้จริง ส่วนใหญ่มักมีอาการปวดที่กล้ามเนื้อก้นด้านที่มีการกดทับของเส้นประสาทหลัง อาจปวดที่ก้นและร้าวลงขา หรือปวดเฉพาะที่ก้นเท่านั้นก็ได้ โดยเส้นประสาทที่ลอดใต้กล้ามเนื้อก้นมัดนั้นทอดยาวมาจากเส้นประสาทเดียวกันกับระดับที่เกิดปัญหาที่เอว แต่บางรายก็ไม่มีอาการดังกล่าว ความจริงแล้วตัวกล้ามเนื้อเกร็งขึ้นเพื่อยึดไม่ให้เส้นประสาทถูกยืดมาก ถ้ารักษาที่ระดับเอว หรือที่สาเหตุแรกได้ถูกจุด
อาการปวดตรงกล้ามเนื้อและเส้นประสาทที่ก้นก็จะลดลงไปได้ การเกิดอาการลักษณะนี้ก็สามารถพบได้ที่กล้ามเนื้อ บ่า หรือ สะบัก เช่นกัน ถ้าเส้นประสาทในระดับคอด้านเดียวกันถูกกดทับโดยหมอนรองกระดูกสันหลัง หรือตัวกระดูกสันหลังเอง หรือแม้แต่การมีภาวะกระดูกเสื่อม มีภาวะแคลเซี่ยมหรือกระดูกงอกหนาตัวขึ้นพอดี หรืออาจมีเศษกระดูกที่กร่อนตัวออกมากมากดทับเส้นประสาทระดับใกล้เคียงนั้นก็ได้ กล้ามเนื้อที่ปกคลุมแนวเส้นประสาทที่มีปัญหานั้น ก็สามารถเกร็งตัว ขึ้นได้ อาการปวดกล้ามเนื้อก็จะต่างไปจากอาการปวดเมื่อยหลังการทำงานทั่วไป อาการปวดล้า/ร้าว ไปตามแขน
ส่วนอก สีข้าง ร่วมกับอาการชา ก็อาจมีได้ บางรายสามารถบรรเทาความเจ็บปวดด้วยวิธีทางกายภาพบำบัด แต่บางกรณีก็ต้องผ่าตัดเอาสาเหตุออก เช่น ชิ้นส่วนกระดูกที่งอก หรือ หมอนรองกระดูกที่เคลื่อนตัวออกมาทับ หรือเพิ่มความหนาให้หมอนรองกระดูกในกรณีที่กระดูกคอเสื่อมและทรุดตัวลงมากดทับเส้นประสาทคอระดับต่าง ๆ ค่าใช้จ่ายในการรักษาก็ขึ้นกับวิธีการตรวจ และ แนวทางการรักษา ถ้ารักษาแบบไม่ใช้ยา ไม่ผ่าตัด เช่น วิธีทางกายภาพบำบัด ก็ราคาไม่แพง หลักร้อย ถึง พัน ต้น ๆ และไม่ต้องเสี่ยงจากการได้รับผลข้างเคียงของการใช้ยา แต่ถ้าสาเหตุที่เกิดต้องแก้ไขด้วยวิธีผ่าตัดเท่านั้น ค่าใช้จ่ายก็จะสูงขึ้น แพงมากน้อยก็ขึ้นกับวิธีการและเทคโนโลยี รวมทั้งอุปกรณ์ที่ใช้ในการผ่าตัดด้วย มักเริ่มที่หลักหมื่น ถึงหลักแสนได้ การประมาณค่ารักษาขึ้นกับสภาพอาการและสาเหตุของปัญหาเป็นสำคัญ ส่วนใหญ่ผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดแล้ว หรือ ก่อนเข้ารับการผ่าตัดมักได้รับคำแนะนำ คำอธิบายเกี่ยวกับแนวทางการรักษา การพยากรณ์โรค จากแพทย์ และการเตรียมความพร้อมให้กับกล้ามเนื้อ ร่วมกับแนวทางการปฎิบัติตัวที่ถูกต้องจากนักกายภาพบำบัด หรือนักเวชศาสตร์ฟื้นฟู
แต่ตัวกล้ามเนื้อเองก็อาจบวม อักเสบและกดทับเส้นประสาทได้ โดยไม่ต้องมีกลไก ของปัญหาในลักษณะข้างต้น โดยอาจมีสาเหตุมาจากการมีแผลเปิด มีอาการกล้ามเนื้ออักเสบ เกิดการติดเชื้อโดยตรงที่กล้ามเนื้อที่ปกคลุมเส้นประสาทอยู่ เป็นผลทำให้เกิดอาการคล้ายคลึงกับกรณีแรกได้
17.2.09
คุณกำลังเผชิญกับมะเร็งลำไส้ใหญ่อยู่หรือไม่?
ใคร ๆ ก็ไม่อยากเป็น แต่ถ้าความกังวลใจมันทำให้คุณเป็นทุกข์กลุ้มใจว่า...คุณกำลังเผชิญกับมะเร็งลำไส้ใหญ่อยู่หรือไม่? ก็ต้องอ่านดูก่อนละกัน รู้ไว้ก่อนไม่เสียหาย!
หากคุณกำลังกังวลใจและสงสัยว่าตัวเองกำลังเผชิญหน้ากับมะเร็งลำไส้ใหญ่อยู่หรือไม่ จะรับมือกับมันอย่างไร และถ้าไม่ใช่มะเร็งลำไส้ใหญ่ แล้วคุณกำลังมีปัญหา หรือโรคอื่นที่กำลังคุกคามคุณอยู่หรือไม่ ควรไปตรวจอย่างละเอียดได้หรือยัง ควรทำอย่างไร ติดต่อสอบถามใครดี บทความนี้น่าจะมีส่วนช่วยคุณให้คุณคลายกังวลไปได้บ้างไม่มากก็น้อย
ข้อมูลทางสถิติ
ในประเทศไทยพบว่าเกิดขึ้นกับผู้ชายมากเป็นอันดับ 3 รองจากมะเร็งตับและปอด เกิดกับเพศหญิง มากเป็นอันดับ 5 หรือเฉลี่ยพบได้ใน 8 -10 คน จากประชากร 100,000 คน
ปัจจัยเสี่ยง
อายุและกรรมพันธุ์ถูกกล่าวถึงเป็นข้อต้น ๆ 1,3,5 ผู้มีอายุตั้งแต่ 50 ปีขึ้นไป ที่มีคนในครอบครัวมีประวัติเป็นมะเร็งลำไส้ และลำไส้ใหญ่ ผู้เคยมีประวัติเป็นโรคมะเร็งในอวัยวะต่าง ๆ ทั้งลำไส้ส่วนขวาง (colon) ลำไส้ใหญ่ และส่วนอื่น ๆ เช่น รังไข่ ทรวงอก ผู้เคยตรวจพบมีติ่งเนื้องอกในลำไส้ ผู้มีภาวะแผลในลำไส้ใหญ่เรื้อรัง (ulcerative colitis หรือ Crohn’s disease)5 นอกจากจะมีความเกี่ยวข้องกับกรรมพันธุ์แล้ว ยังเกี่ยวข้องมาก ๆ กับพฤติกรรมการกินที่ไม่ถูกสุขลักษณะ1,3 เช่น ผู้ที่ทานอาหารที่ไม่ได้ปรุงอย่างถูกสุขอนามัย ทานอาหารประเภทเนื้อสัตว์มาก แต่ทานอาหารประเภทเส้นใยน้อย และทานอาหารที่มีไขมันสูงมากเป็นประจำ มีแนวโน้มสูงที่จะเป็นโรคนี้
อาการ
ลักษณะการขับถ่ายจะเป็นแปลงไป หรือไม่เป็นปกติ อาจมีอาการท้องผูกสลับกับท้องเดินบ่อย ๆลักษณะของอุจจาระมีเลือดเก่า ๆ หรือมูกปนออกมา มีอาการท้องอืดท้องเฟ้อเรื้อรัง อาจมีอากาการเบื่ออาหาร อ่อนเพลีย น้ำหนักตัวลดลงโดยไม่ทราบสาเหตุ หากมีอาการอาเจียนและคลำพบก้อนที่หน้าท้อง แสดงว่าโรคได้มีการดำเนินไปมากแล้ว1 ข้อมูลที่ได้เพิ่มจากแหล่งอ้างอิงยังกล่าวถึงขนาดของก้อนอุจจาระที่เรียวเล็กลงกว่าปกติ และสีของอุจจาระทั้งแบบแดงสด หรือดำเข้ม อาการปวดท้องจากภาวะมีแก๊สในลำไส้มาก รู้สึกจุกเสียด หรือเกิดอาการตะคริว ก็ถือเป็นอาการแสดงและลักษณะอาการที่สามารถบ่งชี้ได้ว่าคุณอาจเป็นโรคนี้5
การรักษา1,3
· การผ่าตัด ผ่าตัดเปิดหน้าท้อง หรืออาจเจาะเป็นรูแล้วใส่เครื่องมือลงไปตัดออก
· รังสีบำบัด อาจให้ก่อนทำการผ่าตัดเพื่อให้ก้อนมะเร็งเล็กลง หรือให้หลังทำการผ่าตัดแล้วเพื่อควบคุมมะเร็งที่แพร่กระจายออกไป
· เคมีบำบัด ให้เพื่อทำลายเซลล์มะเร็งที่เหลือจากการผ่าตัด ซึ่งอาจให้ทางเส้นเลือด หรือรับประทาน
· ชีวบำบัด การสร้างระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายอยู่ในระหว่างการวิจัย อาจมีผลงานให้ปรากฏในอนาคตอันใกล้นี้
การป้องกัน
ควรรับประทานอาหารประเภทเส้นใย เช่น พวกผักผลไม้สดให้มากหน่อย ทานเนื้อสัตว์ให้น้อยลง และทานอาหารที่มีสารเบต้าแคโรทีนมากขึ้น ซึ่งพบมากในพืชที่มีสีเหลือง สีส้ม เช่น แครอท มะละกอสุก ฟักทอง หน่อไม้ฝรั่ง ข้าวโพดอ่อน แตงโม แคนตาลูป และในผักสีเขียวบางชนิด เช่น บร็อกโคลี่ มะระ ผักบุ้ง ต้นหอม ผักคะน้า ผักตำลึง เป็นต้น2
ควรหมั่นสังเกตการพฤติกรรมการขับถ่ายและลักษณะของอุจจาระ สังเกตน้ำหนักตัว หากมีน้ำหนักลดลงอย่างรวดเร็วผิดปกติต้องสงสัยไว้ก่อนว่าอาจมีโรคมะเร็งได้ทุกชนิด ผู้มีอายุ 50 ปีขึ้นไป ควรตรวจอุจจาระ เพื่อหาเลือดปีละครั้ง หากพบมีเลือดในอุจจาระ ควรรับการตรวจทางกล้องผ่านทางทวารหนักทันที มีผู้วิจัยว่าถ้าพบเลือดจากการตรวจแบบนี้ตั้งแต่เริ่มแรกก็จะสามารถลดอัตราการตายลงได้ถึง 25 % ทีเดียว 1
วิธีการตรวจหาเลือดในอุจจาระแบบใหม่ 1
การตรวจแบบใหม่มีชื่อเรียกว่า Immuno Chemical Test ผู้เข้ารับการตรวจไม่ต้องงดอาหาร สามารถทานอาหารได้ตามปกติ วิธีการตรวจจะใช้อุจจาระเพียงนิดเดียวละลายในน้ำยา แล้วนำมาหยดลงแถบทดสอบสีขาว หากมีเลือดปนแถบทดสอบจะเปลี่ยนเป็นสีน้ำเงินทันที ซึ่งสะดวกรวดเร็วกว่าและมีค่าน้ำยา พร้อมแถบทดสอบ ราคาเพียง 35 บาท
หากคุณกำลังกังวลใจและสงสัยว่าตัวเองกำลังเผชิญหน้ากับมะเร็งลำไส้ใหญ่อยู่หรือไม่ จะรับมือกับมันอย่างไร และถ้าไม่ใช่มะเร็งลำไส้ใหญ่ แล้วคุณกำลังมีปัญหา หรือโรคอื่นที่กำลังคุกคามคุณอยู่หรือไม่ ควรไปตรวจอย่างละเอียดได้หรือยัง ควรทำอย่างไร ติดต่อสอบถามใครดี บทความนี้น่าจะมีส่วนช่วยคุณให้คุณคลายกังวลไปได้บ้างไม่มากก็น้อย
ข้อมูลทางสถิติ
ในประเทศไทยพบว่าเกิดขึ้นกับผู้ชายมากเป็นอันดับ 3 รองจากมะเร็งตับและปอด เกิดกับเพศหญิง มากเป็นอันดับ 5 หรือเฉลี่ยพบได้ใน 8 -10 คน จากประชากร 100,000 คน
ปัจจัยเสี่ยง
อายุและกรรมพันธุ์ถูกกล่าวถึงเป็นข้อต้น ๆ 1,3,5 ผู้มีอายุตั้งแต่ 50 ปีขึ้นไป ที่มีคนในครอบครัวมีประวัติเป็นมะเร็งลำไส้ และลำไส้ใหญ่ ผู้เคยมีประวัติเป็นโรคมะเร็งในอวัยวะต่าง ๆ ทั้งลำไส้ส่วนขวาง (colon) ลำไส้ใหญ่ และส่วนอื่น ๆ เช่น รังไข่ ทรวงอก ผู้เคยตรวจพบมีติ่งเนื้องอกในลำไส้ ผู้มีภาวะแผลในลำไส้ใหญ่เรื้อรัง (ulcerative colitis หรือ Crohn’s disease)5 นอกจากจะมีความเกี่ยวข้องกับกรรมพันธุ์แล้ว ยังเกี่ยวข้องมาก ๆ กับพฤติกรรมการกินที่ไม่ถูกสุขลักษณะ1,3 เช่น ผู้ที่ทานอาหารที่ไม่ได้ปรุงอย่างถูกสุขอนามัย ทานอาหารประเภทเนื้อสัตว์มาก แต่ทานอาหารประเภทเส้นใยน้อย และทานอาหารที่มีไขมันสูงมากเป็นประจำ มีแนวโน้มสูงที่จะเป็นโรคนี้
อาการ
ลักษณะการขับถ่ายจะเป็นแปลงไป หรือไม่เป็นปกติ อาจมีอาการท้องผูกสลับกับท้องเดินบ่อย ๆลักษณะของอุจจาระมีเลือดเก่า ๆ หรือมูกปนออกมา มีอาการท้องอืดท้องเฟ้อเรื้อรัง อาจมีอากาการเบื่ออาหาร อ่อนเพลีย น้ำหนักตัวลดลงโดยไม่ทราบสาเหตุ หากมีอาการอาเจียนและคลำพบก้อนที่หน้าท้อง แสดงว่าโรคได้มีการดำเนินไปมากแล้ว1 ข้อมูลที่ได้เพิ่มจากแหล่งอ้างอิงยังกล่าวถึงขนาดของก้อนอุจจาระที่เรียวเล็กลงกว่าปกติ และสีของอุจจาระทั้งแบบแดงสด หรือดำเข้ม อาการปวดท้องจากภาวะมีแก๊สในลำไส้มาก รู้สึกจุกเสียด หรือเกิดอาการตะคริว ก็ถือเป็นอาการแสดงและลักษณะอาการที่สามารถบ่งชี้ได้ว่าคุณอาจเป็นโรคนี้5
การรักษา1,3
· การผ่าตัด ผ่าตัดเปิดหน้าท้อง หรืออาจเจาะเป็นรูแล้วใส่เครื่องมือลงไปตัดออก
· รังสีบำบัด อาจให้ก่อนทำการผ่าตัดเพื่อให้ก้อนมะเร็งเล็กลง หรือให้หลังทำการผ่าตัดแล้วเพื่อควบคุมมะเร็งที่แพร่กระจายออกไป
· เคมีบำบัด ให้เพื่อทำลายเซลล์มะเร็งที่เหลือจากการผ่าตัด ซึ่งอาจให้ทางเส้นเลือด หรือรับประทาน
· ชีวบำบัด การสร้างระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายอยู่ในระหว่างการวิจัย อาจมีผลงานให้ปรากฏในอนาคตอันใกล้นี้
การป้องกัน
ควรรับประทานอาหารประเภทเส้นใย เช่น พวกผักผลไม้สดให้มากหน่อย ทานเนื้อสัตว์ให้น้อยลง และทานอาหารที่มีสารเบต้าแคโรทีนมากขึ้น ซึ่งพบมากในพืชที่มีสีเหลือง สีส้ม เช่น แครอท มะละกอสุก ฟักทอง หน่อไม้ฝรั่ง ข้าวโพดอ่อน แตงโม แคนตาลูป และในผักสีเขียวบางชนิด เช่น บร็อกโคลี่ มะระ ผักบุ้ง ต้นหอม ผักคะน้า ผักตำลึง เป็นต้น2
ควรหมั่นสังเกตการพฤติกรรมการขับถ่ายและลักษณะของอุจจาระ สังเกตน้ำหนักตัว หากมีน้ำหนักลดลงอย่างรวดเร็วผิดปกติต้องสงสัยไว้ก่อนว่าอาจมีโรคมะเร็งได้ทุกชนิด ผู้มีอายุ 50 ปีขึ้นไป ควรตรวจอุจจาระ เพื่อหาเลือดปีละครั้ง หากพบมีเลือดในอุจจาระ ควรรับการตรวจทางกล้องผ่านทางทวารหนักทันที มีผู้วิจัยว่าถ้าพบเลือดจากการตรวจแบบนี้ตั้งแต่เริ่มแรกก็จะสามารถลดอัตราการตายลงได้ถึง 25 % ทีเดียว 1
วิธีการตรวจหาเลือดในอุจจาระแบบใหม่ 1
การตรวจแบบใหม่มีชื่อเรียกว่า Immuno Chemical Test ผู้เข้ารับการตรวจไม่ต้องงดอาหาร สามารถทานอาหารได้ตามปกติ วิธีการตรวจจะใช้อุจจาระเพียงนิดเดียวละลายในน้ำยา แล้วนำมาหยดลงแถบทดสอบสีขาว หากมีเลือดปนแถบทดสอบจะเปลี่ยนเป็นสีน้ำเงินทันที ซึ่งสะดวกรวดเร็วกว่าและมีค่าน้ำยา พร้อมแถบทดสอบ ราคาเพียง 35 บาท
Subscribe to:
Posts (Atom)